การควบคุมการปล่อยน้ำทิ้ง | ด้วย pH Meter

“น้ำทิ้ง” หมายความว่า น้ำที่เกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน น้ำจากการใช้น้ำของคนงานหรือน้ำจากกิจกรรมอื่นในโรงงาน ที่จะระบายออกจากโรงงาน หรือเขตประกอบการอุตสาหกรรม ในปัจจุบันอุตสาหกรรมปิโตรเคมี มีกระบนการผลิตเม็ดพลาสติกประเภทความหนาแน่นสูง มีระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงาน ก่อนปล่อยออกนอกโรงงาน โดยบริษัทฯ ต่าง ๆ มีนโยบายถือว่าข้อกำหนดของกฎหมายเป็นมาตรฐานขั้นต่ำที่ต้องปฏิบัตินั้น จึงต้องมีควบคุมค่าน้ำทิ้งในกระบวนการผลิต ซึ่งน้ำเสียโดยส่วนใหญ่จะมีผลกระทบหลัก ๆ ในเรื่อง pH ซึ่งปัญหาที่พบ คือ มีน้ำเสียที่มีค่า pH ไม่ได้ตามมาตรฐานจากบ่อบำบัดของหน่วยผลิต ถูกปล่อยออกไปสู่บ่อบำบัดรวมของโรงงานก่อนปล่อยลงสู่รางระบายสาธารณะ ทำให้มีค่าใช้จ่ายในการบำบัดและมีความเสี่ยงต่อสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากน้ำทิ้ง มาตรฐานนำทิ้ง ต้องมีคุณภาพ ตังต่อไปนี้ 1.ความเป็นกรดและด่าง (pH) ตั้งแต่ 5.5 ถึง 9.0 2.อุณหภูมิ (Temperature) ไม่เกิน 40 องศาเซลเซียส 3.สี (Color) ไม่เกิน 300 ADMI 4.ของแข็งละลายน้ำทั้งหมด (Total Dissolved solids หรือ TDS) มีค่าดังนี้ – กรณีระบายลงแหล่งน้ำ…

Posted in Uncategorized

ระบบการบำบัดน้ำเสีย | ตามส่วนผสมหลักของน้ำเสีย

ระบบบำบัดน้ำเสียเป็นระบบที่ลดปริมาณของเสียที่อยู่ในสภาพของเหลวให้น้อยลงหรืออยู่ในสภาพที่ไม่ก่อปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม การกำจัดสิ่งปนเปื้อนในน้ำที่เกิดจากกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมหรือเกิดจากกิจวัตรประจำวันของประชาชนที่อยู่อาศัยในชุมชนหรือแหล่งที่อยู่อาศัยต่าง ๆ ให้หมดไป โดยน้ำเสียเป็นน้ำที่ผ่านการนำไปใช้ประโยชน์ในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งน้ำเสียเหล่านี้ต้องได้รับการบำบัดก่อนปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม ซึ่งหลักการบำบัดน้ำเสียคือการกำจัดสิ่งปนเปื้อนเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ เมื่อพูดถึงการบำบัดน้ำเสียพารามิเตอร์แรกที่เราควรคำนึงถึงคือค่า BOD ซึ่งเป็นน้ำเสียประเภทที่มีสารอินทรีย์สะสมอยู่ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เป็นต้น  เมื่อพบว่าค่า BOD ในน้ำสูง แสดงว่ามีสารอินทรีย์ปะปนอยู่มาก และบ่งชี้ถึงสภาพน้ำเน่าเหม็นมาก ดังนั้นจึงสามารถแบ่งประเภทน้ำเสียเป็น 5 ประเภท ดังนี้ น้ำเสียประเภทที่มีสารอินทรีย์ ซึ่งเกิดจากน้ำกินน้ำใช้ โดยหลักการพิจารณาค่า BOD (Biochemical Oxygen Demand) หมายถึงการวัดค่าความเน่าเสียจากน้ำที่ใช้อุปโภคบริโภค ค่า BOD จะแสดงให้เห็นถึงปริมาณออกซิเจนที่แบคทีเรียต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ กล่าวคือ ถ้าน้ำเสียมีค่า BOD ต่ำ จะสามารถทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมได้เพราะไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หากพบค่า BOD สูง เมื่อถูกทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมจะทำให้ปริมาณออกซิเจนในแหล่งน้ำนั้น ๆ ลดลงจนทำให้ปลาหรือสิ่งมีชีวิตอื่นไม่สามารถอยู่ได้และตายในที่สุด น้ำเสียประเภทที่มีสารเคมี โดยพิจารณาจากค่า COD (Chemical Oxygen Demand) หมายถึงค่าวัดความเน่าเสียของน้ำเสียที่เกิดจากสารเคมี โดยค่า…

Posted in Uncategorized

The quality of water for cultivating.

Water is essential for aquatic organisms. Water is central to all aquatic organisms’ activities. Aquatic animals, in particular, live, live, eat, reproduce, and so on. Water for aquaculture considerations are divided into two categories: quality and quantity, both of which are closely related. That is, if the water is of high quality, the amount used…

บำบัดน้ำเสียและกากตะกอน (Wastewater Treatment and Sludge Disposal)

โดยปกติแล้วที่ความสูงประมาณสองหมื่นฟุตเหนือพื้นผิวโลกเป็นจุดที่โมเลกุลของน้ำเปลี่ยนสถานะจากไอน้ำเป็นหยดน้ำ และกลายเป็นฝนตกลงมาสู่พื้นโลก ทำให้มนุษย์เราสามารถใช้ประโยชน์จากน้ำในการทำกิจกรรมต่างๆ ได้ ฝนที่เกิดขึ้นจะไหลผ่านพื้นที่รับน้ำบนภูเขาไหลลงสู่แม่น้ำ และมากักเก็บอยู่ที่แหล่งเก็บน้ำ หลังจากที่น้ำนั้นถูกใช้แล้วจะกลายเป็นน้ำเสียไหลลงสู่ท่อน้ำเสีย แหล่งน้ำตามธรรมชาติ หรือถูกส่งไปโรงบำบัดน้ำเสียนั่นเอง ความสำคัญของระบบบำบัดน้ำเสีย โรงบำบัดน้ำเสีย คือพื้นที่รวบรวมน้ำเสียจากทั่วทุกสารทิศ ไม่ว่าจะเป็นจาก“ครัวเรือน” แหล่งพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า สถานที่ราชการ สถาบันต่างๆ ฯลฯ น้ำเสียเหล่านี้จำเป็นจะต้องผ่านกระบวนการบำบัดแบบต่างๆ เพื่อกำจัดสารปนเปื้อน และสิ่งแปลกปลอมออกจากน้ำ เพื่อให้น้ำมีคุณภาพดีขึ้นสามารถนำไปใช้ในการอุปโภคบริโภคได้ และไม่ส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อมโดยรอบ ในส่วนของน้ำเสียที่ได้รับการบำบัดแล้วจะถูกส่งไปยังแหล่งน้ำสาธารณะ หรืออาจถูกส่งไปใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และทางด้านอื่นๆ ถึงแม้ว่าน้ำจะผ่านการใช้งานหลายต่อหลายครั้ง และสามารถทำความสะอาดตนเองตามวัฏจักรธรรมชาติได้ แต่กระบวนการนี้ก็มีขีดกำจัดของมันเอง ดังนั้นการบำบัดน้ำเสีย จึงเป็นกลไกที่สำคัญอย่างหนึ่งที่จะสามารถช่วยลดภาระการทำความสะอาดธรรมชาติด้วยตนเองของแหล่งน้ำธรรมชาติ และยังช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการปนเปื้อนในระบบผลิตน้ำประปาอีกด้วย การรวบรวมน้ำเสีย ระบบท่อระบายน้ำ หมายถึงการนำน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดหลายๆ แห่งไปรวมกันยังจุดที่จะบำบัดน้ำ โดยผ่านท่อระบายน้ำ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ ระบบท่อร่วม (Combined System) เป็นระบบที่ใช้ท่อระบายน้ำฝนและน้ำเสียร่วมกัน โดยจะต้องสร้างท่อดักน้ำเสีย (Interceptor) เป็นระยะๆ เพื่อรวบรวมน้ำเสียให้ไหลไปตามท่อรวมไปยังบ่อบำบัดน้ำเสีย ส่วนน้ำฝนจะถูกปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะ ระบบท่อแยก (Separated System)…

Seafood pH Measurement I with Sensor Probe.

The flavor of seafood is distinct. It is also rich in many beneficial nutrients, making it one-of-a-kind and fresh. Protein, Omega-3 fatty acids, and minerals are all necessary for the body. However, excessive or unsanitary seafood consumption can be harmful to the body, resulting in food poisoning and mercury poisoning. The time after harvest is…

Posted in Uncategorized

อาหารกระป๋องกับการวัดค่า pH

ในช่วงสงครามของศตวรรษที่ 19 อาหารกระป๋องเป็นที่ต้องการอย่างมากในหมู่ทหาร และต่อมาก็กลายเป็นข้อกำหนดของครัวเรือนที่จำเป็นในยุโรปและอเมริกา พวกเขามีชื่อเสียงมากในด้านเทคนิคการถนอมอาหารที่ทำให้สามารถขนส่งและจัดเก็บผลิตภัณฑ์อาหารที่มีแคลอรี่สูงได้ตามฤดูการอย่างง่ายดาย อย่างไรก็ตามเพื่อป้องกันอาหารจากที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพร้ายแรงที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Clostridium botulinum ที่เจริญเติบโตได้ดีในสภาวะที่ไม่มีอากาศ รวมถึงผลิตสารพิษปนเปื้อนในอาหารที่บรรจุในภาชนะที่ปิดสนิท และเพื่อลดความกังวลด้านความปลอดภัยอื่น ๆ ส่วน 21 CFR (Code of Federal Regulatory) มีแนวทางในการควบคุมอุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง นั่นก็คือการวัดค่า pH อาหารกระป๋อง การวัดค่า pH อาหารกระป๋อง หนึ่งกระป๋องประกอบด้วยอาหารที่เป็นของแข็งหรือกึ่งแข็งผสมกับน้ำเกลือการวัดค่า pH อาหารกระป๋อง เพื่อให้ทราบความเข้มข้นของกรด แต่ในทางกลับกันอาหารกระป๋องก็จัดอยู่ใน 2 ประเภท ได้แก่ อาหารที่มีกรดและอาหารที่มีกรดต่ำ การวัดค่า pH อาหารกระป๋อง พบว่าตามธรรมชาติมีค่า pH อยู่ที่ 4.6 เช่น ผลไม้กระป๋อง หรือต่ำกว่าในขณะที่อาหารที่มีกรดต่ำ เช่น อาหารอื่น ๆ ที่ไม่ใช่เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีค่า pH สมดุลมากกว่า 4.6 และมีน้ำมากกว่า 0.85 ตัวอย่างการวัดค่า…

Posted in Uncategorized

ค่า EC ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คืออะไร? I Hanna Instruments

ค่า Electrical Conductivity หรือเรียกกันว่า EC คือค่าการนำไฟฟ้าของน้ำ โดยสารประกอบอนินทรีย์ที่ละลายอยู่ในน้ำสามารถแตกตัวเป็นประจุบวกและประจุลบได้ ไอออนอิสระเหล่านี้จะเป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี การวัดค่า EC มีความจำเป็นอย่างมากสำหรับอุตสาหกรรมบางประเภท เช่น อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ “อุตสาหกรรมโลหะ” ฯลฯ ที่ต้องการใช้น้ำที่มีค่า EC ค่อนข้างต่ำสำหรับการล้างผลิตภัณฑ์หรือผสมสารเคมี โดยวิธีการวัดค่า EC จะช่วยประหยัดทั้งเวลาและลดค่าใช้จ่าย จึงเป็นตัวเลือกที่เหมาะสมและยังเป็นตัวแปรที่สำคัญในการกำหนดคุณภาพของชิ้นงาน รวมไปถึงช่วยลดขั้นตอนการทำงานต่างๆ ได้อีกด้วย ดังนั้นค่าการนำไฟฟ้าของน้ำจึงขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของไอออน ซึ่งมาจากไอออนต่างๆ ที่ละลายอยู่ในน้ำ ไม่ว่าจะมาจากความเค็มหรือของแข็งที่ละลายอยู่ในน้ำทั้งหมด สารเคมีต่างๆ หรือโลหะหนักที่เจือปนอยู่ในน้ำทำให้น้ำสามารถนำไฟฟ้าได้ ซึ่งช่วยในการระบุความบริสุทธิ์ของน้ำ ยิ่งน้ำบริสุทธิ์มากเท่าไหร่ค่าการนำไฟฟ้าจะยิ่งต่ำมากเท่านั้น (หรือเท่ากับ 0) เปรียบได้ว่าน้ำกลั่นเป็นฉนวน แต่สำหรับน้ำเค็มนำไฟฟ้าได้ดี การวัดค่า EC ในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การวัดค่าการนำไฟฟ้าถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งแวดล้อมเป็นจำนวนมาก เนื่องจากเป็นวิธีที่สามารถวัดปริมาณไอออนในสารละลายได้อย่างรวดเร็วและเชื่อถือได้ เช่น การวัดค่าการนำไฟฟ้าในน้ำเพื่อทำให้ระบบน้ำมีความบริสุทธิ์อย่างต่อเนื่อง และยังมีการใช้งานในอุตสาหกรรมอื่นๆ อีกมากมาย เช่น 1.) การวัดปริมาณปุ๋ยในการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ : เนื่องจากการเติมปุ๋ยลงในน้ำจะทำให้ค่า EC เพิ่มสูงขึ้น 2.) การวัดความบริสุทธิ์ของน้ำ :…

Quantity Fluoride in drinking water | Is a silent danger that should not be ignored.

Fluoride

FluorideFluoride is the element fluorine’s salt. Found naturally in soil, water, air, mineral stones, and even some foods. particularly seafood and certain vegetables, as well as being produced for a variety of purposes People can obtain natural sources of energy in their daily lives by drinking water and eating food. Fluoride is nearly completely absorbed…